สารป้องกันและกำจัดโรคพืช

Showing 1–9 of 11 results

  • คาร์เบนดาซิม 50

    ชื่อสามัญ : คาร์เบนดาซิม

    สารสําคัญ : (carbendazim) ……………… 50% SC

    กลุ่มสาร : Benzimidazole [กลุ่ม 1]

    ลักษณะสาร : ของเหลวสีขาวขุ่นข้น

    คุณสมบัติ :

    • สารป้องกันกําจัดเชื้อราประเภทดูดซึม ออกฤทธิ์ทั้งแบบป้องกันและกําจัดโรคพืช ดูดซึมเข้าสู่พืชทางส่วนที่เป็นสีเขียวของพืช และเคลื่อนย้ายไปกําจัดเชื้อราโรคพืชได้ดี
    • ป้องกันกําจัดโรคใบจุด โรคแอนแทรคโนส โรคใบไหม้ โรคกาบใบแห้ง โรคราแป้ง โรคสแค็ป โรคเมลาโนส เหมาะสําหรับ : ไม้ผล พืชผักต่างๆ พืชไร่ และไม้ดอกไม้ประดับทั่วไป

    อัตราใช้แนะนํา :

    • โรคกาบใบแห้งในข้าว ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา Rhizoctonia solani (Thanatephorus cucumeris)ใช้อัตรา 30 ซีซี ต่อน้ํา 20 ลิตร พ่น 2 ครั้ง ครั้งแรกเมื่อพบการระบาดของโรค และครั้งที่สองหลังจากครั้งแรก 7 วัน
    • โรคช่อดอกดํามะม่วง ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา Colletotrichum gloeosporioides ใช้อัตรา 30 ซีซี ต่อน้ํา 20 ลิตร พ่นเมื่อมะม่วงเริ่มแทงช่อดอกออกมาประมาณ 5-10 เซนติเมตร พ่นซ้ำทุก 4 วัน

    หมายเหตุ :

    • ห้ามเก็บเกี่ยวข้าว ภายใน 14 วันหลังจากพ่นสารครั้งสุดท้าย
    • ห้ามเก็บเกี่ยวไม้ผล ภายใน 3 วันหลังจากพ่นสารครั้งสุดท้าย
    • ห้ามผสม กับ กับปูนขาว กํามะถัน และสารบอโดมิกซ์เจอร์
    รายละเอียดสินค้า
  • ฟอสทิน

    ชื่อสามัญ : ฟอสอีทิล-อะลูมิเนียม

    สารสําคัญ : fosetyl-aluminium…………80% WP

    กลุ่มสาร : phosphonates ( กลุ่ม P7)

    ลักษณะสาร : ผงสีขาว

    คุณสมบัติ :

    • เป็นสารดูดซึมแบบสมบูรณ์และแทรกซึมเข้าต้นพืชได้รวดเร็ว ระยะปลอดฝนสั้นเคลื่อนย้ายจากปลายรากสู่ส่วนยอด และเคลื่อนย้ายในต้นพืชผ่านท่อน้ําและท่ออาหารได้ดี ยับยั้งการงอกของสปอร์และขัดขวางการพัฒนาเส้นใยเชื้อโรคกลไกออกฤทธิ์ยังไม่ทราบชัดเจน ส่วนหนึ่งกลไกออกฤทธิ์แข่งขันหรือแย่งฟอสเฟตในการทําหน้าที่กับตัวควบคุมอัลโลสเตอริคใน
      เอนไซม์หลายชนิดชักนําให้พืชสร้างภูมิต้านทานและกระตุ้นการสร้างสารชีวเคมีไฟโตอเล็กซินกําจัดเชื้อโรค ในพืชตระกูลถั่ว ตระกูลพริก-มะเขือเทศ ตระกูลหญ้า เช่น ข้าว ข้าวฟ่าง ข้าวโอ๊ต แต่ไม่พบในข้าวโพด
    • ใช้ป้องกันกําจัดโรคใบไหม้ในมันฝรั่ง มะเขือเทศ โรคราน้ําค้างในพืชต่างๆ โรคยอดเน่า-ต้นเน่าในสับปะรด โรคยอดเน่าในกล้วยไม้ โรครากเน่าโคนเน่าในทุเรียน ส้ม ส้มโอ มะละกอ โรคเน่าดํา โรคผลเน่าในเงาะ ทุเรียน โรคใบจุด โรคเปลือกเน่ายางพารา โรคเส้นตายางพารา โรคล่าต้นเน่ายางพารา เป็นต้น

    อัตราใช้แนะนํา : 40-50 กรัม ต่อน้ํา 20 ลิตร หรือ 100 กรัม ต่อน้ํา 1 ลิตร ทาแผลโรครากเน่าโคนเน่าในทุเรียน

    หมายเหตุ : ชื่อสามัญ ฟอสอีทิล-อะลูมิเนียม
    ควรระมัดระวังในการผสมร่วมกับสารประกอบคอปเปอร์ กํามะถัน หรือสารกําจัดศัตรูพืชที่มีกํามะถันเป็นองค์ประกอบ และสารโพรพาไกต์

    รายละเอียดสินค้า
  • ฟอสอีทิล-อะลูมิเนียม

    ชื่อสามัญ : ฟอสอีทิล-อะลูมิเนียม

    สารสําคัญ : fosetyl-aluminium………..80% WP

    กลุ่มสาร : Phosphonate [กลุ่ม P7]

    ลักษณะสาร : ผงสีขาว

    คุณสมบัติ :

    • เป็นสารดูดซึมแบบสมบูรณ์และแทรกซึมเข้าต้นพืชได้รวดเร็ว ระยะปลอดฝนสั้นเคลื่อนย้ายจากปลายรากสู่ส่วนยอด และ เคลื่อนย้ายในต้นพืชผ่านท่อน้ําและท่ออาหารได้ดี ยับยั้งการงอกของสปอร์และขัดขวางการพัฒนาเส้นใยเชื้อโรค กลไกออกฤทธิ์ ยังไม่ทราบชัดเจน ส่วนหนึ่งกลไกออกฤทธิ์แข่งขันหรือแย่งฟอสเฟตในการทําหน้าที่กับตัวควบคุมอัลโลสเตอริคในเอนไซม์หลายชนิด
      ชักนําให้พืชสร้างภูมิต้านทานและกระตุ้นการสร้างสารชีวเคมีไฟโตอเล็กซินกําจัดเชื้อโรค ในพืชตระกูลถั่ว ตระกูลพริก-มะเขือเทศ ตระกูลหญ้า เช่น ข้าว ข้าวฟ่าง ข้าวโอ๊ต แต่ไม่พบในข้าวโพด
    • ใช้ป้องกันกําจัดโรคใบไหม้ในมันฝรั่ง มะเขือเทศ โรคราน้ําค้างในพืชต่างๆ โรคยอดเน่า-ต้นเน่าในสับปะรด โรคยอดเน่าในกล้วยไม้ โรครากเน่าโคนเน่าในทุเรียน ส้ม ส้มโอ มะละกอ โรคเน่าดํา โรคผลเน่าในเงาะ ทุเรียน โรคใบจุด โรคเปลือกเน่ายางพารา โรคเส้นด้ายางพารา โรคลําต้นเน่ายางพารา เป็นต้น

    อัตราใช้แนะนํา : 40-50 กรัม ต่อน้ํา 20 ลิตร หรือ 100 กรัม ต่อน้ํา 1 ลิตร ทาแผลโรครากเน่าโคนเน่าในทุเรียน

    หมายเหตุ : ชื่อสามัญ ฟอสอีทิล-อะลูมิเนียม
    ควรระมัดระวังในการผสมร่วมกับสารประกอบคอปเปอร์ กํามะถัน หรือสารกําจัดศัตรพืชที่มีกํามะถันเป็นองค์ประกอบ และสารโพรพาไกต์

    รายละเอียดสินค้า
  • มอลล่า

    ชื่อสามัญ : ไพราโคลสโตรบิน

    สารสําคัญ : pyraclostrobin……………….25% W/V EC

    กลุ่มสาร : strobilurins type: methoxy-acrylates (กลุ่ม11)

    ลักษณะสาร : น้ําใสสีน้ําตาล

    คุณสมบัติ

    • แทรก มเข้าสู่ใบรวดเร็ว 1-2 ชั่วโมง
    • ระยะปลอดฝนสั้นเคลื่อนย้ายในต้นพืชได้ดี ยับยั้งการสร้างเส้นใยและการงอกของสปอร์เชื้อรา ช่วยให้ผิวใบมันวาวและช่วยให้ผลไม้ผิวนวล กลไกออกฤทธิ์ยับยั้งการส่งต่อพลังงานใน Complex 3 ของขบวนการหายใจของเชื้อรา โดยขัดขวางการทํางานของเอนไซม์ Ubiquinol oxidates บริเวณภายนอก Ubiquinol out site ใน Cytochrome be 1
    • ใช้ป้องกันกําจัดโรคพืช เช่น โรคเมล็ดด่างในข้าว โรคใบไหม้ในข้าว โรคคอรวงเน่า โรคแอนแทรคโนส โรคใบจุดตากบ โรคใบจุดสีม่วง โรคต้นไหม้แห้งหน่อไม้ฝรั่ง โรคราแป้ง โรคราสนิม โรคราสนิมขาว โรคราเขม่า โรคใบไหม้ โรคใบจุดตาเสือในเผือก โรคใบจุดตานกในสตอเบอร์รี่ โรครากเน่าโคนเน่า โรคราสีชมพู โรคเมลาโนส โรคสแคป โรคใบจุดในแตงโมง เมล่อน แคนตาลูป
    • ลดการเครียดในพืช เมื่อพืชเจอสภาพแล้งหรือสภาพที่ไม่เหมาะสม

    อัตราใช้แนะนํา : อัตรา 15-30 ซีซี ต่อน้ํา 20 ลิตร

     

    รายละเอียดสินค้า
  • ลุมบ้า

    ชื่อสามัญ : วาลิดามัยซิน

    สารสําคัญ : validamycin ………..3% SL

    กลุ่มสาร : Antibiotic (กลุ่ม 26)

    ลักษณะสาร : ของเหลวสีเขียวใส

    คุณสมบัติ :

    • สารป้องกันและกําจัดโรคพืชแบบไม่ดูดซึม เป็นสารปฏิชีวนะใช้กําจัดเชื้อราสาเหตุของโรคพืช
    • ป้องกันกําจัดโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อ Rhizoctonia solani โรคใบติดทุเรียน

    เหมาะสําหรับ : ไม้ผล ข้าว

    อัตราใช้แนะนํา :ใช้อัตรา 30-50 ซีซี ต่อน้ํา 20 ลิตร พ่น 2 ครั้ง ครั้งแรกเมื่อพบการระบาดของโรค และครั้งที่สองหลังจากพ่นครั้งแรก 7 วัน

    หมายเหตุ : ห้ามเก็บเกี่ยวข้าว ภายใน 30 วันหลังจากพ่นสารครั้งสุดท้าย

    รายละเอียดสินค้า
  • เมทาแลกซิล

    ชื่อสามัญ : เมทาแลกซิล

    สารสําคัญ : metalaxyl……………….25%WP

    กลุ่มสาร : Phenylamide ( กลุ่ม 4)

    ลักษณะสาร : ผงละเอียดสีขาว / ผงละเอียดสีชมพูเข้ม

    คุณสมบัติ :

    • มีคุณสมบัติเป็นสารดูดซึม ยับยั้ง เส้นใยและการงอกของสปอร์เชื้อรา เนื้อละเอียด ละลายน้ําดีไม่อุดตันหัวฉีด กลไกการออกฤทธิ์ยับยั้งกระบวนการสังเคราะห์กรดนิวคลิอิก โดยขัดขวางการทํางานของเอนไซม์อาร์เอ็นเอ โพลีเมอเรส1
    • ใช้ป้องกันกําจัดโรคพืช เช่น โรคใบไหม้ในมะเขือเทศ มันฝรั่ง โรคใบจุดตาเสือเผือก โรคผลเน่าในเงาะ โรคยอดเน่าต้นเน่าสับปะรด โรคผลเน่ามะเขือเปราะ มะเขือพวง โรครากเน่าโคนเน่าในทุเรียน ส้มโอ ส้ม มะละกอ โรคเน่าดําา โรคยอดเน่าในกล้วยไม้ ที่มีสาเหตุเกิดจากเชื้อราไฟท็อปธอรา โรคราน้ําค้างในพืชต่างๆ เป็นต้น

    อัตราใช้แนะนํา :
    ราน้ําค้าง อัตราใช้ 10-20 กรัม ต่อน้ํา 20 ลิตร เริ่มพ่นเมื่อพบการระบาดของโรค และพ่นซำ้ทุก 7 วัน
    โรคใบไหม้ อัตราใช้ 20 กรัม ต่อน้ํา 20ลิตร พ่นเมื่อพบอาการโรคใบไหม้ทุกๆ 7 วัน และหยุดพ่นก่อนเก็บเกี่ยว 3 วัน

    รายละเอียดสินค้า
  • เมนคูน

    ชื่อสามัญ : เฮกซะโคนาโซล

    สารสําคัญ : hexaconazole……………….5% W/V SC

    กลุ่มสาร : Triazoles ( กลุ่ม 3)

    ลักษณะสาร : ของเหลวสีขาวขุ่นข้น

    คุณสมบัติ :

    • มีคุณสมบัติเป็นสารดูดซึมและแทรกซึมเข้าสู่พืชได้รวดเร็ว เคลื่อนย้ายในต้นพืชได้ มีฤทธิ์ครอบคลุมเชื้อโรคกว้างขวาง ยับยั้ง การสร้างและพัฒนาเส้นใยของเชื้อรา ช่วยให้พืชใบหนา เขียวเข้มและรวงข้าวเหลืองสม่ำเสมอ กลไกออกฤทธิ์ขัดขวางการทํา งานของเอนไซม์ C14-demethylases ทําให้การสังเคราะห์สเตอรอยด์ที่ผนังเซลล์ผิดปกติ
    • ใช้ป้องกันกําจัดโรคพืชในนาข้าว เช่น โรคไหม้ โรคใบจุดสีน้ําตาล โรคใบขีดสีน้ําตาล โรคกาบใบแห้ง โรคกาบใบเน่า โรคเมล็ดด่าง โรคเน่าคอรวง โรคถอดฝักดาล โรคดอกกระถิน เป็นต้น พืชผักและไม้ผล เช่น โรคใบจุดทุเรียน โรคใบจุดตากบ โรคใบจุดสีม่วงในหอม โรคราสนิมขาว โรคราสนิม โรคราแป้ง โรคราดําา โรคสแคป โรคราเขม่า โรคแอนแทรทคโนส เป็นต้น

    อัตราใช้แนะนํา :

    • นาข้าว ระยะข้าวแตกกอ ใช้อัตรา 80-120 มิลลิลิตร ต่อไร่ หรืออัตรา 30-50 มิลลิลิตร ต่อน้ํา 20 ลิตร
    • พืชผักและไม้ผล ใช้อัตรา 25-30 มิลลิลิตร ต่อน้ํา 20 ลิตร • สตอเบอร์รี่ ใช้อัตรา 15-20 มิลลิลิตร ต่อน้ํา 20 ลิตร

    หมายเหตุ :
    ช่วยให้ใบพืชมีความเขียวสด ใบหนาและใบใหญ่ขึ้น ช่วยกระตุ้นการพัฒนาของผลอ่อน และช่วยให้ผิวเปลือกผลไม้มีสีนวลใส ช่วยให้ใบพืชทนทานต่อความเครียดจากสภาพ แวดล้อมดีขึ้น เช่น ความร้อน ความแห้งแล้ง ช่วยรักษาสมดุลของการคลายน้ําของ ปากใบพืช ช่วยกระตุ้นการสร้างและรักษาสมดุลของฮอร์ไซโตไคนินในพืช

    รายละเอียดสินค้า
  • โมเซฟ

    ชื่อสามัญ : กรดฟอสโฟนิก (phosphonic acid)

    สารสําคัญ : phosphonic acid 40% W/V SL +Cu2%

    กลุ่มสาร : Phosphonate (กลุ่ม P07)

    ลักษณะสาร : น้ําสีฟ้าใส

    คุณสมบัติ

    • สร้างภูมิคุ้มกันและความต้านทานให้ต้นพืช กระตุ้นการแตกรากฝอย
    • สามารถเคลื่อนย้ายได้ทั่วทุกส่วนของพืช คือ ขึ้นสู่ยอด และลงสู่รากใช้ได้ทั้งฉีดพ่นทางใบ และอัดฉีดเข้าลําต้น
    • ใช้ฉีดพ่นในการป้องกันกําจัดโรคพืช เช่น โรครากเน่า โคนเน่า ที่มีสาเหตุจาก เชื้อราไฟทอปธอร่า Phytophthora palmivora, Phytophthora parasitica Dastur ในทุเรียน สับปะรด กล้วยไม้ เป็นต้น
    • ใช้ป้องกันก๋าจัดโรคยอดเน่า เน่าคอดิน ในพืชหลายชนิด
    • ใช้ป้องกันก๋าจัดโรครากขาว และเส้นนําในยางพารา

    อัตราการใช้
    สําหรับป้องกันโรครากเน่า โคนเน่า

    • ในพืชผัก ไม้ดอก ให้ฉีดพ่นในอัตรา 30 – 40 ซีซี. ผสมสปีดโฟร์ ในอัตรา 2 ซีซี ผสมน้ํา 20 ลิตร เมื่อมีฝนตกชุก หรือ เมื่อพบการเกิดโรค
    • สําหรับไม้ยืนต้นที่มีอาการโรครากเน่า โคนเน่า แนะนําให้ใช้อัตรา 1:1 โมเซฟ อัตรา 100-150 ซีซี ต่อน้ํา 100 ซีซี ฉีดพ่นหรือทาบริเวณแผลที่มีการถากเปลือกด้านนอกออกไปแล้ว
    รายละเอียดสินค้า
  • โอตะ

    ลักษณะสาร : น้ําสีใส

    คุณสมบัติ

    • สามารถกําจัดเชื้อรา แบคทีเรีย ได้อย่างรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ
    • ส่งเสริมให้พืชแข็งแรง มีความต้านทานต่อโรคได้มากขึ้น
    • ใช้ได้ในช่วง pH ที่กว้าง ผสมร่วมกับปุ๋ยและอาหารเสริมพืชส่วนใหญ่ได้
    • สามารถผสมร่วมกับสารกําจัดเชื้อรา ลดการดื้อยาของโรคพืชได้ดี
    • ช่วยป้องกันโรคใบจุดวงแหวนในมะละกอ
    รายละเอียดสินค้า